Adsense




บทความล่าสุด

วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557



    หลังจากได้อ่านหนังสือ "การออกแบบ และ เขียนแบบแผ่นคลี่ " ไป นิดหน่อย ก็เลยลอง นำ ตัวอย่างในหนังสือ มาลองเขียนใน Autodesk Inventor สักหน่อย เพื่อที่จะเปรียบเทียบว่า เหมือนหรือปล่าว ก็เลยเอา ตัวอย่างแผ่นคลี่ท่อโค้งกลม 3 ท่อน ในรูปด้านบน โดย ขนาดนั้นผมก็กะเอาในตอนแรกๆ แล้วค่อยปรับเอาทีหลัง โดยขนาดสุดท้ายที่ผมคิดว่า คล้ายๆกับ ตัวอย่างในหนังสือ คือ
ท่อขนาดเส้นผ่าศุนย์กลาง 100 mm
Rด้านใน = 100mm
Rด้านนอก = 200 mm 


โดยผมจะ สเก๊ต เฉพาะ 90 องศา และจะแบ่งช่องเป็น 5 ช่องโดยใช้คำสั่ง Cercular Pattern และจะ Sketch  เป็น 3 ชิ้น คือ ชิ้นที่1 และ 2 จะเหมือนกัน ส่วนตรงกลางจะยาวหน่อย ให้เมือนตัวอย่างในหนังสือ 
จากนั้นก็ Sketch เส้น Part ทางเดินที่เราจะใช้ ในคำสั่ง Sweep
 ออกจาก Sketch เพื่อสร้าง Sketch ใหม่ตรงระนาบตั้งฉากกับเส้น Part ทางเดิน โดยเขียนเป็นวงกลม Diameter ของ ท่อ ขนาด 100 mm 


เมื่อเรียบร้อยแล้ว ก็ออกจากการ Sketch แล้วใช้คำสั้ง Sweep โดยให้ใช้เป็น Serface จากนั้นเราก็จะได้ ท่องอ 90 องศาแบบ Serface จำนวน 3 ท่อนแล้วครับ


จากนั้น ก็จัดการเปลี่ยน Serface ให้เป็น Solids ซะ โดยการใช้คำสั่ง Thicken/offset "โดยแต่ละท่อนนั้นผมจะให้ความหนาเท่ากับ 1 mm และ เป็น Newsolids นะครับ"  เราก็จะได้ Solid bodies(3) นะครับ


เมื่อได้ 3 Solid เราก็จัดการมันให้เป็น Assemly โดยการใช้คำสั่ง Make Component เมื่อมี Dialog box ขึ้นมา ก็คลิกเลือกทั้ง ทั้ง 3 Solids แล้วก็ Next ไปจนจบเราก็จะได้ ไฟล์ Assembly แล้วครับ 


จากนั้นก็ทำการ Open ทีละอัน เพื่อเปลี่ยนจาก Part ธรรมดา เป็น Sheet Metal นะครับ ตัวอย่างผมอยากให้ดูในวีดีโอนะครับ แต่ผมจะสรุปหลักๆดังนี้

ขั้นตอนในการทำนั้นก็คือ 
1.เลือกคำสั่ง Convert to Sheet metal .
2.ตั้งค่าใน Sheet Metal Defaults ให้ความหนาตรงกับของเรานะครับ
3.จัดการผ่า โดยใช้คำสั่ง Rib อาจจะต้อง สร้าง Point ขึ้นก่อนนะครับ
หากผ่าสำเร็จ นั้นก็คือเราสามารถคลี่ได้แน่
4.จากนั้นก็ทำการ Goto Flat Pattern นะครับ จบ.





อ่อในขั้นตอนที่ 3 เราสามารถเปลี่ยน Mat ให้มันด้วยก็ได้นะครับ หรือจะให้ Gap มันห่างน้อยลง ก็สามารถ ป้อนค่าลงไปได้นะครับ อย่างเช่น Gap = Thickness*0.1  
Gap มันก็จะลดลงนะครับ 

หวังว่าคงเป็นประโยชน์ให้กับทุกท่านนะครับ ส่วนด้านล่างคือวีดีโอ แบบไม่มีเสียงนะครับ พอดี อยู่ด้วยกันหลายคนเลยทำเป็นแบบไม่มีเสียงเดี๋ยวจะรบกวน วงเหล้านะครับ ฮ่าๆ




บทความต่างๆ เกี่ยวกับงานแผ่นคลี่




  


Tip&Trick

Example Round duct Sheet metal By Autodesk Inventor 2015

Sarawut  |  at   23:00



    หลังจากได้อ่านหนังสือ "การออกแบบ และ เขียนแบบแผ่นคลี่ " ไป นิดหน่อย ก็เลยลอง นำ ตัวอย่างในหนังสือ มาลองเขียนใน Autodesk Inventor สักหน่อย เพื่อที่จะเปรียบเทียบว่า เหมือนหรือปล่าว ก็เลยเอา ตัวอย่างแผ่นคลี่ท่อโค้งกลม 3 ท่อน ในรูปด้านบน โดย ขนาดนั้นผมก็กะเอาในตอนแรกๆ แล้วค่อยปรับเอาทีหลัง โดยขนาดสุดท้ายที่ผมคิดว่า คล้ายๆกับ ตัวอย่างในหนังสือ คือ
ท่อขนาดเส้นผ่าศุนย์กลาง 100 mm
Rด้านใน = 100mm
Rด้านนอก = 200 mm 


โดยผมจะ สเก๊ต เฉพาะ 90 องศา และจะแบ่งช่องเป็น 5 ช่องโดยใช้คำสั่ง Cercular Pattern และจะ Sketch  เป็น 3 ชิ้น คือ ชิ้นที่1 และ 2 จะเหมือนกัน ส่วนตรงกลางจะยาวหน่อย ให้เมือนตัวอย่างในหนังสือ 
จากนั้นก็ Sketch เส้น Part ทางเดินที่เราจะใช้ ในคำสั่ง Sweep
 ออกจาก Sketch เพื่อสร้าง Sketch ใหม่ตรงระนาบตั้งฉากกับเส้น Part ทางเดิน โดยเขียนเป็นวงกลม Diameter ของ ท่อ ขนาด 100 mm 


เมื่อเรียบร้อยแล้ว ก็ออกจากการ Sketch แล้วใช้คำสั้ง Sweep โดยให้ใช้เป็น Serface จากนั้นเราก็จะได้ ท่องอ 90 องศาแบบ Serface จำนวน 3 ท่อนแล้วครับ


จากนั้น ก็จัดการเปลี่ยน Serface ให้เป็น Solids ซะ โดยการใช้คำสั่ง Thicken/offset "โดยแต่ละท่อนนั้นผมจะให้ความหนาเท่ากับ 1 mm และ เป็น Newsolids นะครับ"  เราก็จะได้ Solid bodies(3) นะครับ


เมื่อได้ 3 Solid เราก็จัดการมันให้เป็น Assemly โดยการใช้คำสั่ง Make Component เมื่อมี Dialog box ขึ้นมา ก็คลิกเลือกทั้ง ทั้ง 3 Solids แล้วก็ Next ไปจนจบเราก็จะได้ ไฟล์ Assembly แล้วครับ 


จากนั้นก็ทำการ Open ทีละอัน เพื่อเปลี่ยนจาก Part ธรรมดา เป็น Sheet Metal นะครับ ตัวอย่างผมอยากให้ดูในวีดีโอนะครับ แต่ผมจะสรุปหลักๆดังนี้

ขั้นตอนในการทำนั้นก็คือ 
1.เลือกคำสั่ง Convert to Sheet metal .
2.ตั้งค่าใน Sheet Metal Defaults ให้ความหนาตรงกับของเรานะครับ
3.จัดการผ่า โดยใช้คำสั่ง Rib อาจจะต้อง สร้าง Point ขึ้นก่อนนะครับ
หากผ่าสำเร็จ นั้นก็คือเราสามารถคลี่ได้แน่
4.จากนั้นก็ทำการ Goto Flat Pattern นะครับ จบ.





อ่อในขั้นตอนที่ 3 เราสามารถเปลี่ยน Mat ให้มันด้วยก็ได้นะครับ หรือจะให้ Gap มันห่างน้อยลง ก็สามารถ ป้อนค่าลงไปได้นะครับ อย่างเช่น Gap = Thickness*0.1  
Gap มันก็จะลดลงนะครับ 

หวังว่าคงเป็นประโยชน์ให้กับทุกท่านนะครับ ส่วนด้านล่างคือวีดีโอ แบบไม่มีเสียงนะครับ พอดี อยู่ด้วยกันหลายคนเลยทำเป็นแบบไม่มีเสียงเดี๋ยวจะรบกวน วงเหล้านะครับ ฮ่าๆ




บทความต่างๆ เกี่ยวกับงานแผ่นคลี่




  


0 ความคิดเห็น :

วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2557



บทความนี้ก็เกี่ยวกับ การทำ Round duct เป็น Sheet metal นะครับ ในอุตสาหกรรม ส่วนมากก็จะมีงาน Sheet ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Round duct หรือ Square duct หากมีการ เปลี่ยน ซ่อมบำรุง หากเป็นขนาดไม่ใหญ่ มีรูปร่างทั่วๆ ไปก็สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาด แต่ถ้าหากรูปทรงแปลกๆ หน่อย หรือขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่ก็จะไม่มีขายในท้องตลาด จำเป็นต้องออกแบบเอง แต่ถ้าหากไม่มีโปรแกรมเขียนแบบ พวก Inventor หรือ Solidswork ก็น่าจะเป็นเรื่องยาก สักหน่อย ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเรื่องแผ่นคลี่มาทำ ในตัวอย่านี้ก็มี อยู่ทั้งหมด 4 Part นะครับ
สำหรับใครที่พอเขียนได้ก็ลองหัดกันดูนะครับ ไม่น่าจะยากเท่าไหร่ สามารถทำตามวีดีโอที่ผมทำไว้ได้เลยนะครับ
Part 1



Part 2



Part 3


Part 3


VEDIO PART1


VEDIO PART2


อีกอัน แถมเทคนิคการทำ Square to round นะครับ (ของจริง)
ใครเซียนด้านนี้ ทำเป็นอาชีพได้เลยนะครับ หากเครื่องมือพร้อมนะครับ








Tip&Trick

Round duct Sheet metal Autodesk Inventor (งานแผ่นคลี่)

Sarawut  |  at   22:35



บทความนี้ก็เกี่ยวกับ การทำ Round duct เป็น Sheet metal นะครับ ในอุตสาหกรรม ส่วนมากก็จะมีงาน Sheet ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Round duct หรือ Square duct หากมีการ เปลี่ยน ซ่อมบำรุง หากเป็นขนาดไม่ใหญ่ มีรูปร่างทั่วๆ ไปก็สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาด แต่ถ้าหากรูปทรงแปลกๆ หน่อย หรือขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่ก็จะไม่มีขายในท้องตลาด จำเป็นต้องออกแบบเอง แต่ถ้าหากไม่มีโปรแกรมเขียนแบบ พวก Inventor หรือ Solidswork ก็น่าจะเป็นเรื่องยาก สักหน่อย ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเรื่องแผ่นคลี่มาทำ ในตัวอย่านี้ก็มี อยู่ทั้งหมด 4 Part นะครับ
สำหรับใครที่พอเขียนได้ก็ลองหัดกันดูนะครับ ไม่น่าจะยากเท่าไหร่ สามารถทำตามวีดีโอที่ผมทำไว้ได้เลยนะครับ
Part 1



Part 2



Part 3


Part 3


VEDIO PART1


VEDIO PART2


อีกอัน แถมเทคนิคการทำ Square to round นะครับ (ของจริง)
ใครเซียนด้านนี้ ทำเป็นอาชีพได้เลยนะครับ หากเครื่องมือพร้อมนะครับ








0 ความคิดเห็น :

วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2557



  ในการออกแบบชั้นวาง และอุปกรณ์ COVER เครื่องจักรต่างๆ สำหรับบริษัทที่ เป็นห้องค่อนข้างสะอาด เครื่องจักรเป็นพวก Automation ส่วนใหญ่จะใช้ Aluminim Frame ในการทำ เพราะความสวยงาม มีการหยืดยุ่นปรับรูปร่างได้ น้ำหนักเบา ถึงแม้ว่าจะมีราคาแพงว่าเหล็ก รูปพรรณธรรมดา แต่ข้อดีก็มีจำนวนไม่น้อยเช่นกัน บทความนี้ผมจะนำ Aluminum Frame เข้าใน Libraly Autodesk Inventor เพื่อที่การออกแบบจะสามารถทำงานได้เร็วขึ้น เพราะเราสามารถใช้มันได้เหมือนกับการใช้ Frame Genrator ทั่วไป
   ส่วน Aluminum Frame ผมก็ดึงโมเดลจาก Misumi มาก่อน หาใครไม่รู้จะโหลดที่ไหนยังไง ก็ลองดูการโหลดที่นี่
  ในโปรแกรม Inventor จะมี Supplier Content มาให้ อยู่ 3 เวป ส่วนใหญ่ผมก็จะเข้าไปแต่อันที่1 






  แล้วก็หา Misumi 

แล้วก็ไปหา Aluminum frame ที่เราต้องการ สำหรับ Aluminum frame ของ Misumi จะแบ่งเป็น Series 5(Slot 6 mm), Series 6(Slot 8mm), Series 8 (Slot10mm),  ผมจะอธิบายความหมายของ Series เท่าที่ผมเข้าใจนะครับ Series 5(Slot 6 mm) หมายถึง จะใช้ น๊อต M5 ในการยึด และ Slot 6 mm นั้ก็คือรู Slot ผ่านเพื่อที่เราจะใช้ M5 ยึดไงละครับ และ Series 6(Slot 8mm) ก็จะใช้ M6 ยึดนั้นเองแหละครับ 




จากนั้นเมื่อได้ที่ต้องการ แล้วก็ กดที่ Generate CAD model เลยนะครับก็จะมี Link ให้เราโหลดนำไปใช้งานแล้วนะครับ
  จากนั้นก็นำเข้าไปใน Libraly ซึ่งผมก็ได้ทำวีดีโอไว้ให้แล้ว ด้านล่างนะครับ และก็มีวีดีโอกับการ ทำโปรไฟล์เหล็ก อีกอันหนึ่งนะครับ 


        หรือจะเป็นแบบมีเสียงของ อ.ปรัชญา ก็ใช้หลักการเดียวกันนะครับ 
https://www.youtube.com/watch?v=nKEjmDpQvMY&list=UUsQ1bqjhI8v1cURsWzuSRjw

นี่ก็เป็น เทคนิคเล็กน้อยๆนะครับ สำหรับการทำ Frame ของตัวเอง หากใครขยันผมแนะนำจัดให้หมดเลยครับรับรอง Libraly ของท่านต้องเจ๋งแน่ๆ แต่ผมไม่ค่อยได้ใช้เท่าไหร่ เลยเอาเท่าที่ใช้พอนะครับ หวังว่าบทความและ 2 วีดีโอนี้ท่่านจะนำไปทดลองใช้และต่อยอดกันเอาเองนะครับ 











Tip&Trick

การเพิ่ม Aluminum Frame เข้าใน Libraly Autodesk Inventor

Sarawut  |  at   07:42



  ในการออกแบบชั้นวาง และอุปกรณ์ COVER เครื่องจักรต่างๆ สำหรับบริษัทที่ เป็นห้องค่อนข้างสะอาด เครื่องจักรเป็นพวก Automation ส่วนใหญ่จะใช้ Aluminim Frame ในการทำ เพราะความสวยงาม มีการหยืดยุ่นปรับรูปร่างได้ น้ำหนักเบา ถึงแม้ว่าจะมีราคาแพงว่าเหล็ก รูปพรรณธรรมดา แต่ข้อดีก็มีจำนวนไม่น้อยเช่นกัน บทความนี้ผมจะนำ Aluminum Frame เข้าใน Libraly Autodesk Inventor เพื่อที่การออกแบบจะสามารถทำงานได้เร็วขึ้น เพราะเราสามารถใช้มันได้เหมือนกับการใช้ Frame Genrator ทั่วไป
   ส่วน Aluminum Frame ผมก็ดึงโมเดลจาก Misumi มาก่อน หาใครไม่รู้จะโหลดที่ไหนยังไง ก็ลองดูการโหลดที่นี่
  ในโปรแกรม Inventor จะมี Supplier Content มาให้ อยู่ 3 เวป ส่วนใหญ่ผมก็จะเข้าไปแต่อันที่1 






  แล้วก็หา Misumi 

แล้วก็ไปหา Aluminum frame ที่เราต้องการ สำหรับ Aluminum frame ของ Misumi จะแบ่งเป็น Series 5(Slot 6 mm), Series 6(Slot 8mm), Series 8 (Slot10mm),  ผมจะอธิบายความหมายของ Series เท่าที่ผมเข้าใจนะครับ Series 5(Slot 6 mm) หมายถึง จะใช้ น๊อต M5 ในการยึด และ Slot 6 mm นั้ก็คือรู Slot ผ่านเพื่อที่เราจะใช้ M5 ยึดไงละครับ และ Series 6(Slot 8mm) ก็จะใช้ M6 ยึดนั้นเองแหละครับ 




จากนั้นเมื่อได้ที่ต้องการ แล้วก็ กดที่ Generate CAD model เลยนะครับก็จะมี Link ให้เราโหลดนำไปใช้งานแล้วนะครับ
  จากนั้นก็นำเข้าไปใน Libraly ซึ่งผมก็ได้ทำวีดีโอไว้ให้แล้ว ด้านล่างนะครับ และก็มีวีดีโอกับการ ทำโปรไฟล์เหล็ก อีกอันหนึ่งนะครับ 


        หรือจะเป็นแบบมีเสียงของ อ.ปรัชญา ก็ใช้หลักการเดียวกันนะครับ 
https://www.youtube.com/watch?v=nKEjmDpQvMY&list=UUsQ1bqjhI8v1cURsWzuSRjw

นี่ก็เป็น เทคนิคเล็กน้อยๆนะครับ สำหรับการทำ Frame ของตัวเอง หากใครขยันผมแนะนำจัดให้หมดเลยครับรับรอง Libraly ของท่านต้องเจ๋งแน่ๆ แต่ผมไม่ค่อยได้ใช้เท่าไหร่ เลยเอาเท่าที่ใช้พอนะครับ หวังว่าบทความและ 2 วีดีโอนี้ท่่านจะนำไปทดลองใช้และต่อยอดกันเอาเองนะครับ 











0 ความคิดเห็น :

General