Adsense




  • Autodesk Inventor รับออกแบบ สอนเขียนแบบเครื่องกล ONLINE

    Blog เพื่อการเรียนรู้ โปรแกรมออกแบบ Autodesk Inventor/ Festo FluidSIM/ CFD ด้วยตนเอง

  • Youtube channel tutorial

  • Simulation CFD

  • บทความล่าสุด

    วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

     หลังจากเมื่อผมเริ่มทำฟาร์มปลาหางนกยูง วันนี้ 23/11/2020 ตอนเย็น ตู้ที่ผมใช้เลี้ยงปลาหางนกยูง จำนวน 60 ใบ 2 แถว ได้พังลงทับตัวผมเองเพราะน้ำล้นทำให้ดินที่ฐานรองทรุดตัว แถวแรกล้มมาทับแถวที่สองแล้วมาทับผมอีกที ผมคิดอย่างเดียวผมต้องรอดก่อน ผมต้องไม่เป็นอะไร น้องชายผมได้ยินเสียง จึงวิ่งมาช่วยเอาผมออกจากซากตู้ปลาที่ทับถมผม ครึ่งตัว 60 ใบนี้เป็นชุดปลาที่เริ่มขุน และพ่อแม่พันธ์ส่วนหนึ่ง มันแทบจะไม่เหลืออะไรเลย ...... ผมหมดเกือบทุกอย่างแล้วสำหรับรายได้ตรงนี้ ทั้งหมดนี้เกิดจากความมักง่ายของผมเอง 
    ผมตัดสินใจบอกเรื่องนี้แค่สองคน สองคนนี้คือ คนแรกเพื่อนรักของผม และอีกคนที่ ภรรยาเก่าของผม และผมถ่ายรูปไว้ 1 รูปไว้เตือนสติ ผมคงมีเวลาเสียใจแค่คืนนี้คืนเดียว พรุ่งนี้ผมคงต้องเริ่มใหม่ทุกอย่าง ต้องวางแผนตัวเองใหม่ เพราะผมจะไม่มีรายได้หลักเข้ามาอย่างน้อย 3 เดือน ทั้งสองคนที่ผมบอกได้ช่วยเหลือผมเรื่องเงินทันดี ผมจะต้องกลับมาให้ได้เร็วที่สุด ผมยังเหลืองานผ้าพื้นเมืองของผม และผมคิดว่าผมจะขายของเพื่ออย่างน้อยจะ ได้มีเงินหมุนรายวัน มาใช้จ่ายแต่ละวัน และรายจ่ายประจำ 

    บันทึกความทรงจำ ล้มอีกแล้ว... พลาดเพราะความมักง่ายของตัวเอง

    Sarawut  |  at   01:29

     หลังจากเมื่อผมเริ่มทำฟาร์มปลาหางนกยูง วันนี้ 23/11/2020 ตอนเย็น ตู้ที่ผมใช้เลี้ยงปลาหางนกยูง จำนวน 60 ใบ 2 แถว ได้พังลงทับตัวผมเองเพราะน้ำล้นทำให้ดินที่ฐานรองทรุดตัว แถวแรกล้มมาทับแถวที่สองแล้วมาทับผมอีกที ผมคิดอย่างเดียวผมต้องรอดก่อน ผมต้องไม่เป็นอะไร น้องชายผมได้ยินเสียง จึงวิ่งมาช่วยเอาผมออกจากซากตู้ปลาที่ทับถมผม ครึ่งตัว 60 ใบนี้เป็นชุดปลาที่เริ่มขุน และพ่อแม่พันธ์ส่วนหนึ่ง มันแทบจะไม่เหลืออะไรเลย ...... ผมหมดเกือบทุกอย่างแล้วสำหรับรายได้ตรงนี้ ทั้งหมดนี้เกิดจากความมักง่ายของผมเอง 
    ผมตัดสินใจบอกเรื่องนี้แค่สองคน สองคนนี้คือ คนแรกเพื่อนรักของผม และอีกคนที่ ภรรยาเก่าของผม และผมถ่ายรูปไว้ 1 รูปไว้เตือนสติ ผมคงมีเวลาเสียใจแค่คืนนี้คืนเดียว พรุ่งนี้ผมคงต้องเริ่มใหม่ทุกอย่าง ต้องวางแผนตัวเองใหม่ เพราะผมจะไม่มีรายได้หลักเข้ามาอย่างน้อย 3 เดือน ทั้งสองคนที่ผมบอกได้ช่วยเหลือผมเรื่องเงินทันดี ผมจะต้องกลับมาให้ได้เร็วที่สุด ผมยังเหลืองานผ้าพื้นเมืองของผม และผมคิดว่าผมจะขายของเพื่ออย่างน้อยจะ ได้มีเงินหมุนรายวัน มาใช้จ่ายแต่ละวัน และรายจ่ายประจำ 

    วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2563


    กลับมาอีกครั้งในรอบ 5 ปี


    ก่อนอื่นก็ขอสวัสดีทุกท่านนะครับ ไม่ได้เขียนหรืออัพเดท บล็อกนี้แล้วเป็นเวลาเกือบ 5 ปี กลับมาครั้งนี้คงเป็นเรื่อง การใช้ชีวิตประจำวัน ประสปการณ์ต่างๆ ในช่วงอายุที่วัยจะย่างเข้าเลข 4
    ชีวิตมันช่าง ไวจริงๆ ตอนนี้อายุ 38 แล้ว เหมือนว่าตัวเองเพิ่งเกิดมาไม่นาน ต้องยอมรับเลยว่ายังไม่ประสปความสำเร็จในชีวิตเลยสักกะอย่าง น้องๆที่หลงเข้ามาอ่านก็อย่าเดินตามนะครับ 555
    หลังจากที่ผมไปทำงานที่ระยอง ได้สองปี เป็นออกแบบเครื่องจักรกับบริษัท เล็กๆ กับย้ายสายไปเป็น สายก่อสร้าง งานระบบประกอบอาคาร อีก 2 ปี รวมแล้วทำงาน 3 ปี โหยังไม่ได้เท่าที่เรียนมาเลย เรียนวิศวะเครื่องกลตั้ง 5 ปี แต่ทำงานจริงๆแค่ 3 ปี มีอันต้องกลับมาเลี้ยงลูก เพราะมีปัญหาครอบครัว และในช่วงนี้เป็นช่วงที่ผมรู้สึก ไร้จุดหมายกับชีวิตมากที่สุด ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีแรงจูงใจ เรื่อยๆเปื่อยๆ นึกถึงเมื่อก่อนที่ไกล้จะเรียนจบ ผมอยากทำอันนั้นอันนี้เยอะแยะมากมาย แต่เหมือนชีวิตมันซ๊อตไปดื้อๆ จนถึงวันนี้ วันนี้ วันที่ 18/3/2020 เป็นวันที่ผมจะเริ่มต้นใหม่ทุกอย่าง ทั้งร่างกายและจิตใจ ท่ามกลางวิกฤตของประเทศเลยก็ว่าได้ คือ ไวรัสโควิท ระบาดไปทั่วโลก
    คือรู้เลยว่าชิวิตเรามันไม่แน่ไม่นอน ในท่ามกลางวิกฤต มันย่อมมีโอกาศเสมอ แต่ผมยังมีลูก มีแม่ มีน้องชาย ที่ช่วยกันพยังบ้านหลังหนี้โดย มีหนี้อยู่ที่ 2,300,000 บาท ผ่อนเดือนละ 28000 ระยะเวลา 15 ปี
    โดยที่ผมและน้องชาย ไม่มีอาชีพประจำ แต่็จับพลัดจับถูมาสองสามปีละ ยิ่งช่วงนี้เจอ โควิท-19 เข้าไป เงินทองก็หายากขึ้น แต่รายจ่ายมันยังเท่าเดิม 555
    น้องคนไหนก่อนที่จะสร้างหนี้ ก็ดูสภาพคล่องก่อนนะครับ สำหรับผมหนี้ก่อนหนี้ ผมไม่เคยสนใจเลยเมื่อก่อน เพราะเป็นหนี้ที่ แม่กับแฟนของแม่ กู้แล้วมาสร้างบ้านหลังนี้ แต่ตอนนี้แฟนของแม่เขาแยกทางกันแล้ว ภาระทุกอย่างก็ตกอยู่กับพวกเรา 3 คน ที่ไม่มีรายได้ประจำสักคน ผมไม่สามารถไปหางานทำข้างนอกบ้านได้เนื่องจากผมต้องเลี้ยงลูกทั้งสองคน และสิ่งที่ผมจะต้องทำคือ หารายได้จากที่บ้าน เอาละวันนี้ก็เกริ่นเท่านี้ก่อน ขอจบเอาแบบนี้ดื้อๆแหละ เดี๋ยวค่อยมาต่อกันไหม่นะครับผม

    กลับมาเขียนบทความอีกครั้งในรอบ 5 ปี

    Sarawut  |  at   22:24


    กลับมาอีกครั้งในรอบ 5 ปี


    ก่อนอื่นก็ขอสวัสดีทุกท่านนะครับ ไม่ได้เขียนหรืออัพเดท บล็อกนี้แล้วเป็นเวลาเกือบ 5 ปี กลับมาครั้งนี้คงเป็นเรื่อง การใช้ชีวิตประจำวัน ประสปการณ์ต่างๆ ในช่วงอายุที่วัยจะย่างเข้าเลข 4
    ชีวิตมันช่าง ไวจริงๆ ตอนนี้อายุ 38 แล้ว เหมือนว่าตัวเองเพิ่งเกิดมาไม่นาน ต้องยอมรับเลยว่ายังไม่ประสปความสำเร็จในชีวิตเลยสักกะอย่าง น้องๆที่หลงเข้ามาอ่านก็อย่าเดินตามนะครับ 555
    หลังจากที่ผมไปทำงานที่ระยอง ได้สองปี เป็นออกแบบเครื่องจักรกับบริษัท เล็กๆ กับย้ายสายไปเป็น สายก่อสร้าง งานระบบประกอบอาคาร อีก 2 ปี รวมแล้วทำงาน 3 ปี โหยังไม่ได้เท่าที่เรียนมาเลย เรียนวิศวะเครื่องกลตั้ง 5 ปี แต่ทำงานจริงๆแค่ 3 ปี มีอันต้องกลับมาเลี้ยงลูก เพราะมีปัญหาครอบครัว และในช่วงนี้เป็นช่วงที่ผมรู้สึก ไร้จุดหมายกับชีวิตมากที่สุด ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีแรงจูงใจ เรื่อยๆเปื่อยๆ นึกถึงเมื่อก่อนที่ไกล้จะเรียนจบ ผมอยากทำอันนั้นอันนี้เยอะแยะมากมาย แต่เหมือนชีวิตมันซ๊อตไปดื้อๆ จนถึงวันนี้ วันนี้ วันที่ 18/3/2020 เป็นวันที่ผมจะเริ่มต้นใหม่ทุกอย่าง ทั้งร่างกายและจิตใจ ท่ามกลางวิกฤตของประเทศเลยก็ว่าได้ คือ ไวรัสโควิท ระบาดไปทั่วโลก
    คือรู้เลยว่าชิวิตเรามันไม่แน่ไม่นอน ในท่ามกลางวิกฤต มันย่อมมีโอกาศเสมอ แต่ผมยังมีลูก มีแม่ มีน้องชาย ที่ช่วยกันพยังบ้านหลังหนี้โดย มีหนี้อยู่ที่ 2,300,000 บาท ผ่อนเดือนละ 28000 ระยะเวลา 15 ปี
    โดยที่ผมและน้องชาย ไม่มีอาชีพประจำ แต่็จับพลัดจับถูมาสองสามปีละ ยิ่งช่วงนี้เจอ โควิท-19 เข้าไป เงินทองก็หายากขึ้น แต่รายจ่ายมันยังเท่าเดิม 555
    น้องคนไหนก่อนที่จะสร้างหนี้ ก็ดูสภาพคล่องก่อนนะครับ สำหรับผมหนี้ก่อนหนี้ ผมไม่เคยสนใจเลยเมื่อก่อน เพราะเป็นหนี้ที่ แม่กับแฟนของแม่ กู้แล้วมาสร้างบ้านหลังนี้ แต่ตอนนี้แฟนของแม่เขาแยกทางกันแล้ว ภาระทุกอย่างก็ตกอยู่กับพวกเรา 3 คน ที่ไม่มีรายได้ประจำสักคน ผมไม่สามารถไปหางานทำข้างนอกบ้านได้เนื่องจากผมต้องเลี้ยงลูกทั้งสองคน และสิ่งที่ผมจะต้องทำคือ หารายได้จากที่บ้าน เอาละวันนี้ก็เกริ่นเท่านี้ก่อน ขอจบเอาแบบนี้ดื้อๆแหละ เดี๋ยวค่อยมาต่อกันไหม่นะครับผม

    วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558



    DINAMIC BLOCK AUTOCAD ตอนที่ 1 Visibility

    ผมเชื่อว่าหลายคนที่เขียนแบบ 2D Autocad ต้องมี Block ไว้ใช้งานไว้อยู่แล้ว แต่การใช้งานเราก็เปิดหา Block ที่เราต้องการ หรือ ก๊อบมาเป็นชุด แล้วเวลาใช้งานค่อยมาเลือกใช้เอา วันนี้ผมมีเทคนิคเล็กน้อยๆในการทำงานคือ การสร้าง Block แบบ Dynamic โดยใช้ Mode Visibility หรือ การทำ Block แบบซ่อน หรือ การแสดง สิ่งที่เราต้องการ หลักการง่ายๆก็คือ ตั้งชื่อตาม Block ที่เราจะให้แสดง แล้วก็ไปจัดการให้ Block แสดง สิ่งที่เราต้องการ และซ่อนอันที่ไม่ต้องการผมได้ทำวีดีโอ ตัวอย่างการสร้างไว้แล้ว โดยใช้ block งานระบบแบบ Single line ครับ ลองรับชมกันได้ครับ  



     

    DINAMIC BLOCK AUTOCAD ตอนที่ 1 Visibility

    Sarawut  |  at   21:30



    DINAMIC BLOCK AUTOCAD ตอนที่ 1 Visibility

    ผมเชื่อว่าหลายคนที่เขียนแบบ 2D Autocad ต้องมี Block ไว้ใช้งานไว้อยู่แล้ว แต่การใช้งานเราก็เปิดหา Block ที่เราต้องการ หรือ ก๊อบมาเป็นชุด แล้วเวลาใช้งานค่อยมาเลือกใช้เอา วันนี้ผมมีเทคนิคเล็กน้อยๆในการทำงานคือ การสร้าง Block แบบ Dynamic โดยใช้ Mode Visibility หรือ การทำ Block แบบซ่อน หรือ การแสดง สิ่งที่เราต้องการ หลักการง่ายๆก็คือ ตั้งชื่อตาม Block ที่เราจะให้แสดง แล้วก็ไปจัดการให้ Block แสดง สิ่งที่เราต้องการ และซ่อนอันที่ไม่ต้องการผมได้ทำวีดีโอ ตัวอย่างการสร้างไว้แล้ว โดยใช้ block งานระบบแบบ Single line ครับ ลองรับชมกันได้ครับ  



     

    วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2558


    PIC cr:http://www.marketingdd.com/

     เรื่องเล่าตอนผมเมา ตอนที่ 1 ประสปการณ์ปีแรกสายเครื่องจักร.....



    ....ผมไม่รู้นะครับว่าบทความมี้มันคืออะไร แต่มันมาจากความรู้สึกล้วนๆ เห็นใน Puntip เขาบอกว่า วิศวกรสมัยนี้จบมาแล้วห่วย..........ผมก็ 1 ในนั้นครับ ผมห่วยแตก แต่พี่ครับให้เวลาผมบ้าง แต่ผมใฝ่รู้ครับ อันไหนผมตอบไม่ได้ผมจะค้นกูเกิ้ลมาตอบ   ผมจบออกมาแล้ว 2 ปี ด้วยความแก่ และเชี่ยวชาญนิดๆ(การเขียนแบบ เขียนเป็นครับแต่ทำงานไม่ได้ ) ปีแรกผมทำงานสายออกแบบเครื่องจักร ปีที่สองงานระบบประกอบอาคาร จากที่ผมสัมผัสงานมาทั้งสองสาย ผมบอกได้เลยว่าแตกต่างกันสุดขั้ว
    ยกเว้นอย่าเดียว การต้องการเรียนรู้ และ คือการทำงานร่วมกับผู้อื่น.....

    1. งานเครื่องจักรผมสรุปได้เลยว่า คุณต้องรู้จักชิ้นส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Part สำเร็จ หรือ Part  ต่างๆที่คุณจะประกอบมา เพื่อเครื่องจักรของคุณทำงานได้ ถ้าเป็นสายนี้ ผมถามน้องที่จบไหม่ ว่า คุณรู้จักพอหรือยัง ........ ตอบให้เลย ... ไม่มีใครรู้มาแต่เกิดหรอก แค่ถามว่า จะใช้ลูกปืนอะไร แบบไหน ก็งง กันไปข้างแล้ว แต่ถ้ารู้จักชิ้นส่วนต่างๆแล้ว ทีนี้มาสิ มันก็เหมือนการประกอบ LEGO โดยใช้ หลัการทางวิศวกรรมเป็นตัวกำหนด(ถ้าไม่รู้ถามพนักงานขายได้เลยครับ ไม่ต้องอาย ทำฟอร์มสะหน่อย แล้วถามว่ามันใช้งานยังไง คนเขาอยากขายเขาจะอธิบายให้คุณเอง ) แล้วเครื่องต่อๆไปคุณก็จะเจอตัวที่มันแปลก มากขึ้นยิ่งคุณรู้จัก Part มาเท่าไหร่ ต้นทุนเท่าไหร คุณยิ่งเก่งมากเท่านั้น

    การแก้ไข   แคตตาล็อกครับ อ่านและอ่าน ไปซื้อของเอง คุยกับ Partner เอง ทีนี้จะจำไปจนตาย แน่นอน แค่ไปซื้อแหวน รองน๊อต แม่ค้าก็จะถามแล้วว่า เอาแหวนกิโลหรือแหวนอีแปะ หรือแหวน สปริง ยิ่งปล่อยให้มันเดินในคลังอะไหล่มากเท่าไหร่ ความคิดมันจะง่ายขึ้นเท่านั้น  (ผมนอนในห้องเก็บของมา เกือบ 1 ปี) 555

      2.คณ ต้องเข้าใจช่าง... คุณเขียนแบบยากเท่าไหร่คุณก็ดูอ่อนไปอีก แต่นั้นมันคือใน Computer ยิ่งช่างยิ่งทำ Part ช้ามากเท่าไหร่ และนั้นมันก็หมายถึง ต้นทุนในการผลิต(ค่าจ้างช่าง) แพงขึ้นเท่านั้น  ช่างต้องใช้เทคนิค การทำงาน เวลาผมเขียนแบบ แบบที่ผมเขียนไป ผมจะนึกเสมอว่าช่างทำ ว่าเขาทำได้ไหม บางทีก็โดนบ่นว่าเขียนแบบนีผมจะขึ้นงานยังไง เข้าเครื่อง CNC  เหอะ  บางทีสละเวลาเลี้ยงเหล้าช่างก็ได้ฟังสิ่งที่คุณต้องปรับปรุง ช่างจะบอกคุณอีกเยอะ  (แต่เล่มนี้ misumi part สำเร็จสำหรับเครื่องกล คือหนังสือที่คุณต้องอ่านหากจะมาสายนี้ รวมทั้งอีกเล่ม คือคู่มือไรสักอย่างนี้แหละผมเคยโพสไปแล้วแต่ลืม 555)

    3.เข้าใจลูกพี่ .... โอยไรนี้ ทำไมมันยากขนาดนี้ ผมบอกตรงๆ ว่าถ้าสายนี้คุณต้องเจอแบบนี้ ถึงคุณจะออกแบบ มา เฟอร์เฟค แค่ไหน แต่ถ้าเกินงบ เขาจะปรับแบบคุณ แนะนำคุณ บางทีเราก็มองข้ามนะ เรื่องง่ายๆแต่เราคิดเป็นยาก แต่บางทีคุณก็ว่าเรื่องง่ายๆ แต่เราก็คิดยากไปปะ.....อย่าไปยอมถ้าสิ่งที่คุณว่าดีกว่าเขาคิด ค่อยๆบอกว่ามัยดียังไง ประหยัดไปเท่าไหร่  เว้นแต่นอกจากเขาจะมีเหตุผลหักล้าง


    4.ลูกค้า คำนี้ผมขอจบนะครับ เพราะถ้าเขาต้องการไร ให้เขาไปเหอะๆๆ

    สรุปสุดท้ายก็คือ
    (ไม่มีใครเกิดมาเก่งหรอกครับ ประสปการณ์เท่านั้น  จริงๆ สำหรับงานวิศวกรรมโรงงาน) แต่ความคิดเห็นผมนะครับ ถ้าคุณสุดยอด คุณเก่งสุดๆ มันก็อยู่ในแค่โรงงานนั้นใช่ไหม หรือว่าผมคิดผิดไป ....

    ส่วนสายงานระบบ เจอกันตอนต่อไปนะครัช...

    เรื่องเล่าตอนผมเมา ตอนที่ 1

    Sarawut  |  at   01:08


    PIC cr:http://www.marketingdd.com/

     เรื่องเล่าตอนผมเมา ตอนที่ 1 ประสปการณ์ปีแรกสายเครื่องจักร.....



    ....ผมไม่รู้นะครับว่าบทความมี้มันคืออะไร แต่มันมาจากความรู้สึกล้วนๆ เห็นใน Puntip เขาบอกว่า วิศวกรสมัยนี้จบมาแล้วห่วย..........ผมก็ 1 ในนั้นครับ ผมห่วยแตก แต่พี่ครับให้เวลาผมบ้าง แต่ผมใฝ่รู้ครับ อันไหนผมตอบไม่ได้ผมจะค้นกูเกิ้ลมาตอบ   ผมจบออกมาแล้ว 2 ปี ด้วยความแก่ และเชี่ยวชาญนิดๆ(การเขียนแบบ เขียนเป็นครับแต่ทำงานไม่ได้ ) ปีแรกผมทำงานสายออกแบบเครื่องจักร ปีที่สองงานระบบประกอบอาคาร จากที่ผมสัมผัสงานมาทั้งสองสาย ผมบอกได้เลยว่าแตกต่างกันสุดขั้ว
    ยกเว้นอย่าเดียว การต้องการเรียนรู้ และ คือการทำงานร่วมกับผู้อื่น.....

    1. งานเครื่องจักรผมสรุปได้เลยว่า คุณต้องรู้จักชิ้นส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Part สำเร็จ หรือ Part  ต่างๆที่คุณจะประกอบมา เพื่อเครื่องจักรของคุณทำงานได้ ถ้าเป็นสายนี้ ผมถามน้องที่จบไหม่ ว่า คุณรู้จักพอหรือยัง ........ ตอบให้เลย ... ไม่มีใครรู้มาแต่เกิดหรอก แค่ถามว่า จะใช้ลูกปืนอะไร แบบไหน ก็งง กันไปข้างแล้ว แต่ถ้ารู้จักชิ้นส่วนต่างๆแล้ว ทีนี้มาสิ มันก็เหมือนการประกอบ LEGO โดยใช้ หลัการทางวิศวกรรมเป็นตัวกำหนด(ถ้าไม่รู้ถามพนักงานขายได้เลยครับ ไม่ต้องอาย ทำฟอร์มสะหน่อย แล้วถามว่ามันใช้งานยังไง คนเขาอยากขายเขาจะอธิบายให้คุณเอง ) แล้วเครื่องต่อๆไปคุณก็จะเจอตัวที่มันแปลก มากขึ้นยิ่งคุณรู้จัก Part มาเท่าไหร่ ต้นทุนเท่าไหร คุณยิ่งเก่งมากเท่านั้น

    การแก้ไข   แคตตาล็อกครับ อ่านและอ่าน ไปซื้อของเอง คุยกับ Partner เอง ทีนี้จะจำไปจนตาย แน่นอน แค่ไปซื้อแหวน รองน๊อต แม่ค้าก็จะถามแล้วว่า เอาแหวนกิโลหรือแหวนอีแปะ หรือแหวน สปริง ยิ่งปล่อยให้มันเดินในคลังอะไหล่มากเท่าไหร่ ความคิดมันจะง่ายขึ้นเท่านั้น  (ผมนอนในห้องเก็บของมา เกือบ 1 ปี) 555

      2.คณ ต้องเข้าใจช่าง... คุณเขียนแบบยากเท่าไหร่คุณก็ดูอ่อนไปอีก แต่นั้นมันคือใน Computer ยิ่งช่างยิ่งทำ Part ช้ามากเท่าไหร่ และนั้นมันก็หมายถึง ต้นทุนในการผลิต(ค่าจ้างช่าง) แพงขึ้นเท่านั้น  ช่างต้องใช้เทคนิค การทำงาน เวลาผมเขียนแบบ แบบที่ผมเขียนไป ผมจะนึกเสมอว่าช่างทำ ว่าเขาทำได้ไหม บางทีก็โดนบ่นว่าเขียนแบบนีผมจะขึ้นงานยังไง เข้าเครื่อง CNC  เหอะ  บางทีสละเวลาเลี้ยงเหล้าช่างก็ได้ฟังสิ่งที่คุณต้องปรับปรุง ช่างจะบอกคุณอีกเยอะ  (แต่เล่มนี้ misumi part สำเร็จสำหรับเครื่องกล คือหนังสือที่คุณต้องอ่านหากจะมาสายนี้ รวมทั้งอีกเล่ม คือคู่มือไรสักอย่างนี้แหละผมเคยโพสไปแล้วแต่ลืม 555)

    3.เข้าใจลูกพี่ .... โอยไรนี้ ทำไมมันยากขนาดนี้ ผมบอกตรงๆ ว่าถ้าสายนี้คุณต้องเจอแบบนี้ ถึงคุณจะออกแบบ มา เฟอร์เฟค แค่ไหน แต่ถ้าเกินงบ เขาจะปรับแบบคุณ แนะนำคุณ บางทีเราก็มองข้ามนะ เรื่องง่ายๆแต่เราคิดเป็นยาก แต่บางทีคุณก็ว่าเรื่องง่ายๆ แต่เราก็คิดยากไปปะ.....อย่าไปยอมถ้าสิ่งที่คุณว่าดีกว่าเขาคิด ค่อยๆบอกว่ามัยดียังไง ประหยัดไปเท่าไหร่  เว้นแต่นอกจากเขาจะมีเหตุผลหักล้าง


    4.ลูกค้า คำนี้ผมขอจบนะครับ เพราะถ้าเขาต้องการไร ให้เขาไปเหอะๆๆ

    สรุปสุดท้ายก็คือ
    (ไม่มีใครเกิดมาเก่งหรอกครับ ประสปการณ์เท่านั้น  จริงๆ สำหรับงานวิศวกรรมโรงงาน) แต่ความคิดเห็นผมนะครับ ถ้าคุณสุดยอด คุณเก่งสุดๆ มันก็อยู่ในแค่โรงงานนั้นใช่ไหม หรือว่าผมคิดผิดไป ....

    ส่วนสายงานระบบ เจอกันตอนต่อไปนะครัช...

    วันจันทร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2558


    ปัจจุบันโปรแกรมเขียนแบบ สามมิติ 3D มีบทกับการทำงานมากขึ้นเรื่อยๆ แต่บางทีการทำงานก็ยังต้องเซฟ กลับมาเป็น 2D เพื่อใช้งานในการเขียนแปลน เนื่องจาก การเขียน 2D ยังคงยืดหยุุ่นในการเขียนแปลน และยังใช้งานกันอยู่แพร่หลาย ดังนั้น การแปลงไฟล์จาก 3D มาเป็น 2D  อาจเกิดเป็น 3 แกนขึ้นมา โดยที่อาจมีแกน Z ติดมาด้วย ทำให้เวลาทำงาน การที่เราใช้ Osnap นั้น มันก็จะ Snap ติดไปยังแกน Z บ้างทำให้เส้นในการเขียนแบบไม่ได้อยู่ในระบายเดียวกัน (ส่วนใหญ่จะอยู่ระนาบเดียวกัน) หากไม่อยูระนาบเดียวกัน จะไม่สามารถใช้งานคำสั้ง fillet และ Chamfer ได้ และจะขึ้นข้อความว่า "Lines are non coplanar" บทความนี้ ก็เป็นวิธีการแก้ไข โดยมีอยู่ 2 วิธี โดยการใช้คำสั่ง
    1. flatten objects
    2. Move 1e99
     ไปดูในวีดีโอกันเลยนะครับ ผมคิดว่าปัญหาแบบนี้จะมีมาเรื่อยๆ แน่นอน หากใครเจอแบบนี้ก็จัดการเลยนะครับพี่น้อง...








    AUTOCAD งานระบบ

    การทำแบบให้อยู่ในระนาบ X-Y

    Sarawut  |  at   07:02


    ปัจจุบันโปรแกรมเขียนแบบ สามมิติ 3D มีบทกับการทำงานมากขึ้นเรื่อยๆ แต่บางทีการทำงานก็ยังต้องเซฟ กลับมาเป็น 2D เพื่อใช้งานในการเขียนแปลน เนื่องจาก การเขียน 2D ยังคงยืดหยุุ่นในการเขียนแปลน และยังใช้งานกันอยู่แพร่หลาย ดังนั้น การแปลงไฟล์จาก 3D มาเป็น 2D  อาจเกิดเป็น 3 แกนขึ้นมา โดยที่อาจมีแกน Z ติดมาด้วย ทำให้เวลาทำงาน การที่เราใช้ Osnap นั้น มันก็จะ Snap ติดไปยังแกน Z บ้างทำให้เส้นในการเขียนแบบไม่ได้อยู่ในระบายเดียวกัน (ส่วนใหญ่จะอยู่ระนาบเดียวกัน) หากไม่อยูระนาบเดียวกัน จะไม่สามารถใช้งานคำสั้ง fillet และ Chamfer ได้ และจะขึ้นข้อความว่า "Lines are non coplanar" บทความนี้ ก็เป็นวิธีการแก้ไข โดยมีอยู่ 2 วิธี โดยการใช้คำสั่ง
    1. flatten objects
    2. Move 1e99
     ไปดูในวีดีโอกันเลยนะครับ ผมคิดว่าปัญหาแบบนี้จะมีมาเรื่อยๆ แน่นอน หากใครเจอแบบนี้ก็จัดการเลยนะครับพี่น้อง...








    วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2558


         คำสั่ง Xref คือการนำไฟล์จากภายนอก( external reference ) เข้ามาทำงาน งานระบบประกอบอาคารส่วนใหญ่ จะต้องใช้กัน มันก็คือ แปลนโครงสร้าง ของสถาปัตย์ นั่นแหละครับ เพราะงานระบบ ต้อง อางอิงจากโครงสร้าง หากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง เราก็นำไฟล์โครงสร้าง ของสถาปัตย์  ที่อัพเดท มาตรวจสอบกับผลกระทบกับงานของเราเพื่อปรับเปลี่ยนแก้ไข ตามหน้างาน ซืึงเราไม่ต้องไปเขียนงานระบบของเราใหม่ หรือก๊อปมาใส่แปลนที่อัพเดท พูดง่ายๆมันก็คือ แบบของเราอยู่กับที่ แต่เอาไฟล์โครงสร้างเข้ามา และมันก็จะไม่ทำให้ไฟล์ของเรานั้นใหญ่ขึ้นด้วย และการเซฟงานนั้น เมื่อเราเซฟเราก็ต้องเอาไฟล์อ้างอิงนี้ติดไปด้วย หากไม่งั้นมันจะมีแต่งานของเรา การเซฟ หากทำงานร่วมกับ Xref อย่าใช้ Save As นะครับ ให้ใช่ Etransmit แทนนะครับซื่งมันจะสามารถเซฟได้ทั้งหมด รวมถึงฟร้อนต่างๆด้ว 
    บทความนี้ก็เป็นความรู้เล็กน้อยๆ นะครับ สำหรับการทำงานของคนที่เริ่มทำงานเขียนแบบใหม่ๆ ครับ ส่วนวีดีโอ ด้านล่างก็พอแนะนำการใช้งาน Xref นะครับ 




    AUTOCAD งานระบบ

    การใช้งาน และการปรับแต่ง รวมถึงการ Save งานกับ X-ref

    Sarawut  |  at   19:59


         คำสั่ง Xref คือการนำไฟล์จากภายนอก( external reference ) เข้ามาทำงาน งานระบบประกอบอาคารส่วนใหญ่ จะต้องใช้กัน มันก็คือ แปลนโครงสร้าง ของสถาปัตย์ นั่นแหละครับ เพราะงานระบบ ต้อง อางอิงจากโครงสร้าง หากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง เราก็นำไฟล์โครงสร้าง ของสถาปัตย์  ที่อัพเดท มาตรวจสอบกับผลกระทบกับงานของเราเพื่อปรับเปลี่ยนแก้ไข ตามหน้างาน ซืึงเราไม่ต้องไปเขียนงานระบบของเราใหม่ หรือก๊อปมาใส่แปลนที่อัพเดท พูดง่ายๆมันก็คือ แบบของเราอยู่กับที่ แต่เอาไฟล์โครงสร้างเข้ามา และมันก็จะไม่ทำให้ไฟล์ของเรานั้นใหญ่ขึ้นด้วย และการเซฟงานนั้น เมื่อเราเซฟเราก็ต้องเอาไฟล์อ้างอิงนี้ติดไปด้วย หากไม่งั้นมันจะมีแต่งานของเรา การเซฟ หากทำงานร่วมกับ Xref อย่าใช้ Save As นะครับ ให้ใช่ Etransmit แทนนะครับซื่งมันจะสามารถเซฟได้ทั้งหมด รวมถึงฟร้อนต่างๆด้ว 
    บทความนี้ก็เป็นความรู้เล็กน้อยๆ นะครับ สำหรับการทำงานของคนที่เริ่มทำงานเขียนแบบใหม่ๆ ครับ ส่วนวีดีโอ ด้านล่างก็พอแนะนำการใช้งาน Xref นะครับ 




    วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558



             งาน Aluminum Profile มองเผินๆ แล้วอาจจะดูไม่มีไรซับซ้อน แค่เขียนแบบแล้ว ซื้อของมาประกอบ  แค่นี้ก็น่าจะไม่มีปัญหาอะไร แต่สิ่งที่สำคัญ ที่สุดคือ งบประมาณ ในการทำ เพราะว่างานพวกนี้หาซื้ออุปกรณ์ในท้องตลาดไม่มีหรอกครับ ต้องสั่งซื้อจากตัวแทนจำหน่ายอย่างเดียว  และต้นทุนค่อนข้างสูง อย่างเช่น Aluminum ขนาด 30*30 mm นั้น ความยาว เส้นเต็ม ประมาณ 4 - 5 m (แล้วแต่บางเจ้า) ก็ตกประมาณ เส้นละ 1,100-1,200 บาท ตัวยึด และน๊อต ยึดก็ต้องเป็นรุ่นของมัน จะสั่งมาเผื่อเยอะๆก็ไม่ค่อยไหว อย่างถูกๆ ก็ตกตัวละ 10 บาท  




    และน๊อตก็มี หลายชนิดหลาย Option ไอ่ตัวดีๆหน่อยราคาก็จะสูงตาม 
    ดังนั้นมันก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้แบบไหมให้เหมาะสม กับการทำงานและราคา  เอาเป็นว่าผมจะสรุปเป็นข้อๆแล้วกันนะครับ 

    1. การวัดหน้างาน ควรวัดให้ละเอียดที่สุดเพราะจะได้ ไม่มีปัญหาทีหลัง อย่าวัดแบบลวกๆ เหมือนผม เพราะงาน Cover ผมวัดความยาวแค่ด้านเดียว โดนนึกว่ามันเท่ากัน แต่ที่ไหนได้ พอมาติดตั้ง มันไม่เท่ากัน ทำให้ต้องเสียเวลา ตัด แก้ไข เฉพาะหน้า แถมงานก็ออกมาไม่ค่อยสวยเท่าไหร่ 

    2.Aluminum Profile สามารถสั่งได้ทั้งเส้นเต็ม หรือว่า สั่งตัดความยาวตามต้องการ เขามี QC ตรวจสอบความยาว +- ไม่เกิน 1 mm
    - ของ misumi จะคิดตามความยาว ไม่มีคำว่าสั่งเส้นเต็มแล้วราคาจะถูกกว่าสั่งตัด เส้นเต็มจะอยู่ที่ 4 m  MISUMI

    - ของที่อื่น สั่งเส้นเต็มจะถูกว่า สั่งตัดตามความยาว เพราะเขาคิดค่าตัด แต่ความยาวเส้นเต็มจะอยู่ที่ 5 m 
    แต่ถ้าหากคุณวัดหน้างานละเอียด ผมว่าสั่งตัดไปเลย ครับ มันแพงกว่ากันไม่เท่าไหร่ และประหยัดเวลาคนงานของเรา รวมถึงป้องกันการตัดผิดไชด์ ของคนงานเราด้วยด้วย

    3.ข้อต่อ หรือ Brackets และ น๊อต อันนี้ก็ตัวสำคัญ นะครับ เพราะ จะถูกจะแพงก็ขึ้นอยู่กับตัวนี้เหมือนกัน  แต่มันมีแบบหลากหลายให้เลือกใช้นะครับแต่อันที่ผมใช้งานคือตัวนี้ครับ

    จะเอาไว้ยึดให้มันตั้งฉาก แล้วด้านข้างจะมี รูเกลียว M5 เอาไว้สำหรับยึด แผ่น อะคิริค หรือ PVC Sheet นะครับ
    อย่างของ Misumi นั้นก็มียึดหลายแบบนะครับ มีอีกแบบที่ผมแนะนำว่าประหยัดก็คือแบบเจาะนะครับ เป็นแบบ Blind  Joint แต่จะเสียเวลาเจาะ






    เครดิต: misumi facebook
    ส่วนน๊อตที่ใช้ก็เลือกตามความเหมาสมเองนะครับ เพราะมันมีเยอะมาก ควรดูลักษณะการใช้งานให้เหมาะสมด้วย  

    3.การออกแบบ อันนี้ก็สำคัญนะครับ จากประสปการณ์ 2 งานที่ทำมา ผมเลือกออกแบบให้ประหยัด Aluminum Profile แต่ผลที่ออกมากลับเสียเวลาการประกอบติดตั้งหน้างาน ฉะนั้นเลือกให้ดีนะครับ   

    4.การเลือก supplier ผมลองเสนอราคาหลายเจ้าแล้ว บางเจ้าหน้าตัดไม่เหมือน แต่ขนาดเท่ากัน ผมแนะนำไปเลยว่าเราโหลด Part Misumi มาเขียนแบบแล้ว เวลาสั่งก็ควรเอาของ Misumi เหอะครับ จะได้ไม่ต้องมีปัญหาไม่ตรงแบบ และมีของให้เราเลือกเยอะมาก และของมีแน่นอน เรื่องราคารวมทั้งหมดก็ไกล้เคียงกัน (อันนี้ผมลองเทียบแล้วที่ไชด์ 30*30 mm นะครับ  )
    5.การสั่งของ บางทีต้องสั่งล่วงหน้าประมาณ 1-2 อาทิตย์นะครับ เพราะบางตัวต้องสั่งจากเมืองนอก ก็เช็คระยะเวลาให้ดีนะครับ งานผมมีบางตัวต้องนำเข้าจาก Japan กินเวลาเกือบ อาทิตย์ เกือบส่งงานไม่ทันรอบเลยทีเดียว

    6.แผ่น อะคิริก หรือ PVC Sheet ดี อันนี้ขึ้นอยู่กับงบประมาณครับ อะคริกจะถูกกว่า แต่แข็งและเปราะ อาจจะแตกง่ายเวลาเจาะรู ไกล้ๆขอบครับ
    PVC Sheet แพงกว่า แต่เหนียวครับ
    ส่วนเรื่องความหนา ก็แล้วแต่ความต้องการนะครับ แต่อย่าลืมว่า ยิ่งแผ่นบาง มันจะอ่อนเวลาติดตั้งนะครับ มันไม่ได้ตรงๆ แบน เหมือนตอนเราเขียนแบบนะครับ อาจต้องเสริม ตัวยึดแผ่นแต่ละจุดเพเื่อให้มันแข็งแรงไม่อ่อนด้วยนะครับ

    7.การประกอบ อันนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ และการเลือกใช้ของนะครับ ควรให้เวลาในการประกอบ อย่างต่ำ 1 วันนะครับ







        ก็หวังว่าประการณ์งาน Aluminum Profile ของผม จะเป็นประโยชน์ให้กับ คนที่กำลังจะทำงานพวกนี้นะครับ





    Work By Inventor

    Aluminum Profile งานง่ายๆ (หรือปล่าว)

    Sarawut  |  at   12:30



             งาน Aluminum Profile มองเผินๆ แล้วอาจจะดูไม่มีไรซับซ้อน แค่เขียนแบบแล้ว ซื้อของมาประกอบ  แค่นี้ก็น่าจะไม่มีปัญหาอะไร แต่สิ่งที่สำคัญ ที่สุดคือ งบประมาณ ในการทำ เพราะว่างานพวกนี้หาซื้ออุปกรณ์ในท้องตลาดไม่มีหรอกครับ ต้องสั่งซื้อจากตัวแทนจำหน่ายอย่างเดียว  และต้นทุนค่อนข้างสูง อย่างเช่น Aluminum ขนาด 30*30 mm นั้น ความยาว เส้นเต็ม ประมาณ 4 - 5 m (แล้วแต่บางเจ้า) ก็ตกประมาณ เส้นละ 1,100-1,200 บาท ตัวยึด และน๊อต ยึดก็ต้องเป็นรุ่นของมัน จะสั่งมาเผื่อเยอะๆก็ไม่ค่อยไหว อย่างถูกๆ ก็ตกตัวละ 10 บาท  




    และน๊อตก็มี หลายชนิดหลาย Option ไอ่ตัวดีๆหน่อยราคาก็จะสูงตาม 
    ดังนั้นมันก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้แบบไหมให้เหมาะสม กับการทำงานและราคา  เอาเป็นว่าผมจะสรุปเป็นข้อๆแล้วกันนะครับ 

    1. การวัดหน้างาน ควรวัดให้ละเอียดที่สุดเพราะจะได้ ไม่มีปัญหาทีหลัง อย่าวัดแบบลวกๆ เหมือนผม เพราะงาน Cover ผมวัดความยาวแค่ด้านเดียว โดนนึกว่ามันเท่ากัน แต่ที่ไหนได้ พอมาติดตั้ง มันไม่เท่ากัน ทำให้ต้องเสียเวลา ตัด แก้ไข เฉพาะหน้า แถมงานก็ออกมาไม่ค่อยสวยเท่าไหร่ 

    2.Aluminum Profile สามารถสั่งได้ทั้งเส้นเต็ม หรือว่า สั่งตัดความยาวตามต้องการ เขามี QC ตรวจสอบความยาว +- ไม่เกิน 1 mm
    - ของ misumi จะคิดตามความยาว ไม่มีคำว่าสั่งเส้นเต็มแล้วราคาจะถูกกว่าสั่งตัด เส้นเต็มจะอยู่ที่ 4 m  MISUMI

    - ของที่อื่น สั่งเส้นเต็มจะถูกว่า สั่งตัดตามความยาว เพราะเขาคิดค่าตัด แต่ความยาวเส้นเต็มจะอยู่ที่ 5 m 
    แต่ถ้าหากคุณวัดหน้างานละเอียด ผมว่าสั่งตัดไปเลย ครับ มันแพงกว่ากันไม่เท่าไหร่ และประหยัดเวลาคนงานของเรา รวมถึงป้องกันการตัดผิดไชด์ ของคนงานเราด้วยด้วย

    3.ข้อต่อ หรือ Brackets และ น๊อต อันนี้ก็ตัวสำคัญ นะครับ เพราะ จะถูกจะแพงก็ขึ้นอยู่กับตัวนี้เหมือนกัน  แต่มันมีแบบหลากหลายให้เลือกใช้นะครับแต่อันที่ผมใช้งานคือตัวนี้ครับ

    จะเอาไว้ยึดให้มันตั้งฉาก แล้วด้านข้างจะมี รูเกลียว M5 เอาไว้สำหรับยึด แผ่น อะคิริค หรือ PVC Sheet นะครับ
    อย่างของ Misumi นั้นก็มียึดหลายแบบนะครับ มีอีกแบบที่ผมแนะนำว่าประหยัดก็คือแบบเจาะนะครับ เป็นแบบ Blind  Joint แต่จะเสียเวลาเจาะ






    เครดิต: misumi facebook
    ส่วนน๊อตที่ใช้ก็เลือกตามความเหมาสมเองนะครับ เพราะมันมีเยอะมาก ควรดูลักษณะการใช้งานให้เหมาะสมด้วย  

    3.การออกแบบ อันนี้ก็สำคัญนะครับ จากประสปการณ์ 2 งานที่ทำมา ผมเลือกออกแบบให้ประหยัด Aluminum Profile แต่ผลที่ออกมากลับเสียเวลาการประกอบติดตั้งหน้างาน ฉะนั้นเลือกให้ดีนะครับ   

    4.การเลือก supplier ผมลองเสนอราคาหลายเจ้าแล้ว บางเจ้าหน้าตัดไม่เหมือน แต่ขนาดเท่ากัน ผมแนะนำไปเลยว่าเราโหลด Part Misumi มาเขียนแบบแล้ว เวลาสั่งก็ควรเอาของ Misumi เหอะครับ จะได้ไม่ต้องมีปัญหาไม่ตรงแบบ และมีของให้เราเลือกเยอะมาก และของมีแน่นอน เรื่องราคารวมทั้งหมดก็ไกล้เคียงกัน (อันนี้ผมลองเทียบแล้วที่ไชด์ 30*30 mm นะครับ  )
    5.การสั่งของ บางทีต้องสั่งล่วงหน้าประมาณ 1-2 อาทิตย์นะครับ เพราะบางตัวต้องสั่งจากเมืองนอก ก็เช็คระยะเวลาให้ดีนะครับ งานผมมีบางตัวต้องนำเข้าจาก Japan กินเวลาเกือบ อาทิตย์ เกือบส่งงานไม่ทันรอบเลยทีเดียว

    6.แผ่น อะคิริก หรือ PVC Sheet ดี อันนี้ขึ้นอยู่กับงบประมาณครับ อะคริกจะถูกกว่า แต่แข็งและเปราะ อาจจะแตกง่ายเวลาเจาะรู ไกล้ๆขอบครับ
    PVC Sheet แพงกว่า แต่เหนียวครับ
    ส่วนเรื่องความหนา ก็แล้วแต่ความต้องการนะครับ แต่อย่าลืมว่า ยิ่งแผ่นบาง มันจะอ่อนเวลาติดตั้งนะครับ มันไม่ได้ตรงๆ แบน เหมือนตอนเราเขียนแบบนะครับ อาจต้องเสริม ตัวยึดแผ่นแต่ละจุดเพเื่อให้มันแข็งแรงไม่อ่อนด้วยนะครับ

    7.การประกอบ อันนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ และการเลือกใช้ของนะครับ ควรให้เวลาในการประกอบ อย่างต่ำ 1 วันนะครับ







        ก็หวังว่าประการณ์งาน Aluminum Profile ของผม จะเป็นประโยชน์ให้กับ คนที่กำลังจะทำงานพวกนี้นะครับ





    General